วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ.2563
เวลา 08.30-12.30 น.
เนื้อหาที่เรียน
การเรียนการสอนในคาบนี้อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้เด็กว่าสามารถจัดประสบการณ์แบบไหนให้เด็กได้บ้าง
เด็กเกิดการเรียนรู้ คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยตามแนวความคิดของเพียเจต์
1.ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส (แรกเกิด-2ปี)
- เด็กเกิดการเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
- สามารถจดจำสิ่งต่างๆที่บอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2.ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล
- ใช้ภาษาพูดแสดงความรู้ ความคิด
- เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด น้ำหนัก รูปทรงและความยาว
- เล่นบทบาทสมมติซึ่งเป็นพื้นฐานของพัฒนาความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้นเช่น จำนวน ตัวเลข ตัวอักษร คำที่มีความหมาย
3.ขั้นอนุรักษ์ เด็กตอบตามที่ตามองเห็น
- เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย
- โดยการนับ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
- การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร
- เรียงลำดับ
- จัดกลุ่ม
พัฒนาการ
หมายถึง ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมของเด็กแต่ละอายุ มีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง จัดให้เหมาะสมกับพัฒนาการ ออกแบบให้เด็กเกิดการเรียนรู้ให้สอดคล้องหรือสนใจตามความสามรถ เด็กลงมือกระทำด้วยตนเอง - เล่นเป็นวิธีการ
จัดประสบการณ์ผ่านการเล่น - ลงมือกระทำกับวัตถุ ตัดสินใจเองอย่างสนุกสนาน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้คนละหนึ่งแผ่นเพื่อที่ให้เราคิดว่าจะจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้มากน้อยแค่ไหน
การเรียนการสอนในคาบนี้อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้เด็กว่าสามารถจัดประสบการณ์แบบไหนให้เด็กได้บ้าง
เด็กเกิดการเรียนรู้ คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยตามแนวความคิดของเพียเจต์
1.ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส (แรกเกิด-2ปี)
- เด็กเกิดการเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
- สามารถจดจำสิ่งต่างๆที่บอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2.ขั้นเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล
- ใช้ภาษาพูดแสดงความรู้ ความคิด
- เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด น้ำหนัก รูปทรงและความยาว
- เล่นบทบาทสมมติซึ่งเป็นพื้นฐานของพัฒนาความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้นเช่น จำนวน ตัวเลข ตัวอักษร คำที่มีความหมาย
3.ขั้นอนุรักษ์ เด็กตอบตามที่ตามองเห็น
- เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย
- โดยการนับ
- การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
- การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร
- เรียงลำดับ
- จัดกลุ่ม
พัฒนาการ
หมายถึง ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมของเด็กแต่ละอายุ มีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง จัดให้เหมาะสมกับพัฒนาการ ออกแบบให้เด็กเกิดการเรียนรู้ให้สอดคล้องหรือสนใจตามความสามรถ เด็กลงมือกระทำด้วยตนเอง - เล่นเป็นวิธีการ
จัดประสบการณ์ผ่านการเล่น - ลงมือกระทำกับวัตถุ ตัดสินใจเองอย่างสนุกสนาน
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้คนละหนึ่งแผ่นเพื่อที่ให้เราคิดว่าจะจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้มากน้อยแค่ไหน
ผลงานที่ดิฉันได้ทำคือ นำกระดาษมา 1 แผ่น แล้ววาดรูปต่างๆลงไปในกระดาษให้เด็กไปหยิบรูปสามเหลี่ยมตามที่เลขฮินดูอารบิกกำกับไว้แล้วนำมาวางไว้ในฝั่งซ้าย แล้วให้เด็กไปหยิบรูปสามเหลี่ยมอีกทีมาวางไว้ในฝั่งขวา แล้วนับจำนวน ถามเด็กว่าฝั่งไหนมีมากกว่ากันเอ่ย แล้วให้เด็กไปหยิบเครื่องหมายมากกว่าหรือน้อยกว่ามากำกับไว้ การสอนคณิตศาสตร์นั้นจะต้องให้เด็กนั้นได้เกิดลงมือปฏิบัติจริงๆ
และอาจารย์ได้ให้พวกเราจับกลุ่มแต่งเพลงคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งกลุ่มดิฉันได้แต่งเพลงโลมาซึ่งเกี่ยวกับการนับและคิดท่าเต้นประกอบเพลง
เพลงโลมา
โลมาพ่นน้ำเป็นฝอย
ปลาเล็กปลาน้อยก็ว่ายตามมา
นับ 1 2 3 4 5 (ซ้ำ)
ใครว่ายตามมา โลมาจับตัว (ซ้ำ)
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
1.Swarm จับกลุ่ม
2.Number ตัวเลข
3.Senses ประสาทสัมผัส
4.Memorize จดจำ
5.Conserve อนุรักษ์
ประเมิน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์สอนตรงตามเวลาและสอนละเอียด อธิบายเข้าใจ
ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน : เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์สอน และมีส่วนร่วมกันในทำกิจกรรมมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น